ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก กรกฎาคม, 2020

Trader & Financial Freedom

เมื่อวานมีน้องท่านหนึ่งถาม ว่าถ้าเป็นเทรดเดอร์จะมีอิส รภาพทางการเงิน แบบไม่ต้องทำงานได้อย่างไร เพราะต้องนั้งเทรดตลอดเวลา ไม่เทรดก็ไม่ได้เงิน ?? เป็นคำถามที่ดีเพราะมันเป็น คำถามที่ผมถามตัวเองตั้งแต่ วันแรกที่เริ่มเดินทางนี้ละ  สิ่งที่เรียนรู้ Key คือเรื่องการ management ตัวทรัพยากร เวลา(Time) และเงิน( Money) สำหรับส่วนตัวผม จำแนกโหมดการเทรดของตัวเองเ ป็น 3 แบบ ผสมกันคือ 1. Passive trading : ใช้เวลาเทรดติดตามต่อวันน้อ ย+จำนวนการเทรดน้อย (time horizon ยาว)+ payoff สองทาง(ํYiled +Capital gain) เงื่อนไขพวกนี้เราจะใช้การเ ลือก asset และ strategies ต่อไป 2. Active trading : ใช้เวลาเทรด/ ติดตามต่อวันมาก(อายุมากๆ สุขภาพไม่อำนวยหรือมีครอบคร ัว เริ่มทำให้ work ยากละ) + รอบการเทรดสูง + ระยะการเทรดสั้น + time horizon สั้นปรับตามสถานการณ์ตลาด 3. Automatic/Robot trading : ใช้เวลาติดตามต่อวันน้อย + จำนวนการเทรดสูง + ระยะการเทรดสั้น + payoff สองทาง(ํYiled +Capital gain) + time horizon สั้นปรับตาม risk factor ปัจจุบัน ดังนั้นในพอร์ตที่บริหาร จะจัดสัดส่วนเงินกระจายไปทั ้ง 3 โหมด(สัดส่วนแตกต่างกันตามช...

อิสรภาพทางการเงิน

กระทู้นี้ถามถึงจำนวนเงินเท ่าไหร่ถึงจะมีอิสรภาพทางการ เงิน ไม่ต้องทำงาน มีหลายคอมเมนต์ที่น่าสนใจ แบ่ง 2 แบบหลักๆ 1-ใช้เท่าไหร่เก็บเท่านั้น ถ้าใช้เงินปีละ 500k ประเมินว่าจะใช้ชีวิตอยู่ต่ อหลังหยุดทำงานสัก 20 ปี ก็ต้องมีเงินก้อนสัก 500k*20 = 10 ล้าน >วิธีคิดนี้ตรงไปตรงมาแต่ อันตรายเพราะ ถ้าครบ 20 ปี เงินหมดนี้ปัญหา , อีกประการคือการเก็บเงินก้อ นขนาด 10 ล้านด้วยเงินเดือนระดับพนัก งานทั่วไป โอกาสเกิดจริงไ ม่ง่าย 2-ใช้ประโยชน์จากดอกเบี้ย ความคิดเห็นแบบนี้ สไตล์ให้เงินทำงานแทนเรา แนะนำให้คิดรายจ่ายอนาคต และประเมินย้อนจาก ผลตอบแทนความเสี่ยงต่ำที่ไม ่ทำให้ เงินทุน เงินออมหาย เช่น ถ้าจะใช้ชีวิตปีละ 500k บาท, จากอัตราดอกเบี้ยความเสี่ยง ต่ำ(Risk free rate) 2% จะต้องออมเงินให้ได้ 500k*(100/2) = 25 ล้าน > วิธีนี้ถ้าออมเงินได้ก็สบาย  จะอยู่ต่อไปกี่ปีก็ได้ เพราะเงินจะงอกไปเอง แต่ข้อจำกัด การหาเงินก้อนใหญ่ไม่ง่าย + อัตราดอกเบี้ยต่ำ ถ้าอนาคตเงินเฟ้อสูง ค่าครองชีพแพง โอกาสจะมีเงินพอใช้ก็จะยากข ึ้น สรุป จากผมไล่อ่าน ทั้งสองประเภทขึ้นกับ 4 ปัจจัย ได้แก่ = {รายได้ ,เงินออม ,ค่าใช้จ่าย และผลตอบแทน...

How (NOT) To Predict Stock Prices

การวิเคราะห์ข้อมูล มันมีประโยชน์เสมอ ถ้าเราเข้าใจสิ่งที่ทำ ลองมองกลับมุม แทนจะใช้ Deep learning แบบ LSTM หรือ Variational autoencoder LSTM ไป ทำนายอนาคต ทำนายราคาหุ้น ราคา asset ในภาวะที่เราควบคุมไม่ได้ เพื่อหา upside เปลี่ยนไปใช้ทำนาย / ประเมิน anomaly ใน P/L Timeseries ประเมินระบบ ประเมิน performance ของพอร์ตเพื่อป้องกัน down side แทน (เพราะถ้าถูกเราป้องกันผลกระทบการขาดทุนได้ แต่ถ้าโมเดลผิด เราก็เสมอตัวไม่เสี่ยงเกิน) บทความนี้สรุปดี แทนที่จะไป prediction ค่า value ก็เปลี่ยนไปจำแนก movement แทน(binary classification problem) หรือไม่ก็ทำ ensemble of models แบบหลายโมเดล หลายกลยุทธ์ปรับไปตาม market behavior https://towardsdatascience.com/how-not-to-predict-stock-prices-with-lstms

New Normal ในยุคอัตราดอกเบี้ยติด 0

อ่านกระทู้นี้แล้ว มีหลายคอมเมนต์น่าสนใจ จนอยากเขียนบันทึกเก็บไว้ โดยเฉพาะมุมมองของคนทั้งใช้เวลาทั้งชีวิต ใกล้เกษียณ ทำงานเก็บเงิน 10 ล้าน หวังใช้ชีวิตอยู่จาก fix income ฝากธนาคารรอกินดอกจากเงินก้อนนี้ มาเจอภาวะปัจจุบัน ดอกเบี้ย 0-0.5% (เงินเฟ้อ 2%) ผลตอบแทนจากดอกเบี้ยบนเงินทั้งก้อน 10 ล้าน ยังเท่ากับ ค่าแรงขั้นต่ำรายปี และไม่พอค่าครองชีพในเมืองใหญ่+ค่าหมอค่ายา สรุปคือ มีเงินสด 10 ล้าน ถ้าไม่มี "ระบบ/ความรู้" ที่ขยายให้เงินทำงาน สร้างผลตอบแทนเพื่อเติบโต ไม่นานก็หมดจากการใช้จ่าย(แน่นอนว่ามี service บริการแต่ก็ต้องมีความรู้จะเลือกใช้เช่นกัน เพราะบางโปรดักซ์ผลตอบแทนก็ไม่คุ้มกับค่า fee ที่จ่ายไป) จะเรียกว่า New Normal ในยุคอัตราดอกเบี้ยติด 0 ต่ำเป็นประวัติการณ์ บวกกับเงินเฟ้อก็จะมาเงินฝืดก็น่ากลัว(นักเศรษฐศาสตร์อเมริกัน ประเมินความน่าจะเป็น 1-2 ปีว่าเศรษฐกิจโลกอาจจะเกิดได้ทั้ง inflation และ deflation) การเงินเก็บ อย่างเดียวไม่พอละ ต้องมีความรู้ในการบริหารจัดการเงิน เบื้องต้นด้วย อาจจะไม่ต้องเป็น active trader หรือซีเรียสติดตามข้อมูลข่าวสารทุกวัน แต่อย่างน้อยต้องรู้จักลงทุนเป็น เห็...

strategic thinking

strategic thinking คือกระบวนการคิดเชิงกลยุทธ์ เพื่อการวางแผนดำเนินงานหรือแก้ปัญหาให้บรรลุไปตามเป้าหมายบนแนวทางที่มีประสิทธิภาพที่สุด พอดีอ่านเรื่องนี้ "How To Master Strategic Thinking Skills" มีหลายประเด็นที่น่าสนใจ โดยเฉพาะเรื่องการพิจารณาปัจจุบัน การหัดตั้งคำถามกับตัวเองเพื่อการวางแผนในอนาคต เช่น "ตอนนี้สิ่งที่เราทำ มัน work กับตัวเราหรือไม่" โดยเอา strategic thinking มาประยุกต์ใช้ ถ้าเรากำลังรู้สึก ติดหล่ม หรือ หนักใจไปต่อไม่ถูก เช่น อยากเป็นเทรดเดอร์ เทรดทุกวัน ได้กำไรสลับขาดทุนแต่รู้สึกพอร์ตยังไม่โต กำไรสุทธิต่อปียังไม่พอ ค่าไฟ ลองใช้แนวทาง strategic cycle มาวิเคราะห์ดู เริ่มจาก 1. What : ลอง list สิ่งที่กำลังทำประจำ 5 งานหลัก เพื่อรีวิวแนวทางและกระบวนการที่เราใช้ 2. Why : เขียนลงกระดาษ อธิบายสิ่งที่เราทำด้วยประโยคสั้นๆ Key คือ หาสิ่งที่เราทำแต่ไม่รู้ทำไปทำไม เพราะหลายอย่างเราทำตามคนอื่น โดยที่ไม่รู้ว่ามันคืออะไร ทำไปทำไม สิ่งพวกนี้อันตรายต้องระวัง 3. Way : ทบทวนสิ่งที่เราทำและแนวทางปฏิบัติว่า มันเป็นทางที่ดีจริงๆหรือไม่ ,ด้านผลดีและผลลบที่เกิดจากการทำมันเหมาะ...

Two Sigma Financial Modeling Code Competition

เช้านี้นั่งอ่านบทความหนึ่ง ชื่อ "Two Sigma Financial Modeling Code Competition, 5th Place Winners’ Interview" เขาสัมภาษณ์ผู้ชนะอันดับ 5 ในการแข่งขันรายการ Two Sigma Financial Modeling Challenge รายการนี้แข่งขันปี 2016 -2017 ระยะยาวและ Two Sigma ซึ่งเป็น Quant Fund อันดับต้นของโลกก็จัดรางวัลให้เต็ม รวม $100,000 พร้อมโอกาสร่วมธุรกิจ ทำให้มีคนสนใจแข่งรายการนี้มากพอควรกว่า 2000 ทีม บทความนี้ยาว ผมขอสรุป key สำคัญสั้น สำหรับผมสิ่งที่น่าสนใจคือ ผู้ชนะอันดับ 5 ทีม Bestfitting เขาใช้เทคนิค lag-N features ในการทำ Feature Engineering ของข้อมูล Time Series , การทำ Quant โมเดล เขาเริ่มจากการทดลองสร้าง weak model ออกมาก่อน จากนั้นปรับปรุงเรื่อยๆ ให้ดีขึ้น level ต่อมาเป็น stable model แต่สิ่งที่น่าสนใจคือ เขาไม่ได้ปรับแบบเปลี่ยนใหม่ แต่เป็นการทำ Ensemble model ซึ่งรองรับความเป็น dynamic ของตลาดไม่ใช่การ prediction แบบโมเดลเดียว fit all , พัฒนา self-adaptive strategy สร้างตัวแปรใช้ปรับการโมเดลแปรผันตาม ค่า market volatile (volatility data) ออกแนวคล้าย reinforcement learning (แต่ไม่ได้สร้างโ...