ผมนำเสนอแนวคิดและระบบเทรดแบบ Grid System มาหลายรอบ อธิบายมาก็เยอะ หลายท่านสนใจ ผมเลยคิดว่าสรุปรวมๆแล้วเขียนเป็น บทความเลยน่าจะดี เลยเป็นที่มาของบทความนี้
Grid System จริงๆมันคือนิยามของระบบที่ ซื้อขายตามแนวเส้นระดับราคา ที่มีระยะห่าง(interval) คงที่ ตรงนี้แตกต่างจากระบบเทรดอื่นๆ ที่มันใช้สัญญาณซื้อขาย จากเครื่องมือ indicator จากกราฟแท่งเทียน จากโมเดลคณิตศาสตร์
ข้อดีของกริด คือ ไม่สนใจทิศทาง(กรณีเป็น Bi-direction) สามารถเทรดได้โดยไม่ต้องเดา อนาคต ไม่ต้องเดาแนวโน้ม กริดเน้นการซื้่อขายทำกำไรก้อนเล็ก(ตามการออกแบบโครงสร้างของกริด) เน้นกระแสเงินสด(Cash Flow)ที่ออกมา มากกว่ากำไรคำโตๆ กริดเองทำงานได้ดี ในช่วงราคาเคลื่อนไปมาในระยะ zone
ปัจจุบันที่ใช้งานกันมี Grid System หลายแบบ ขึ้นกับผู้พัฒนา ที่จะใช้วางกลยุทธ์ ผมอธิบายแยกแบบหลักๆตาม Method ดังนี้
แบบแรก:แบ่งตามการซื้อขาย
Grid One direction >> ซื้อขายสะสม ในหน้าเดียว
Grid two direction >> ใช้ในอนุพันธ์ Long short ได้สองทาง
แบบที่สอง:แบ่งตาม money management
Grid Martingale >> ใช้การแทงทบ เพิ่มขนาด lot ในไม้ 2 3 4 เพื่อ cover loss ในไม้ที่เสีย
Grid Non-Martingale >> พวกนี้ไม่มีการเพิ่ม lot ไม่ตัดขาดทุนไม่มี SL แต่รอให้ ราคาวนกลับ ใช้กระแสเงินสดชดเชยส่วนการสูญเสียของ equity ไป เป็นการเก็บกำไรไรกริดต่อกริด
ขนาดของกริด(interval) มักจะขึ้นกับ กลยุทธ์ ขึ้นกับปัจจัยและช่วงเวลา เราอาจจะใช้เทคนิค การวาง zone เพื่อกำหนดขนาดกริดให้แตกต่างตามความผันผวน และกำลังโมเมนตรัมการเคลื่อนของราคา
การเข้า order ในกริด เราจะใช้การวาง pending order หรือเข้าออเดอร์ตามแนวเส้นกริด ที่เราออกแบบไว้ก็ได้ แต่การเทรดเป็นการเข้าออกแน่นอน
http://www.cwayinvestment.com/2017/10/grid-money-management.html
http://www.cwayinvestment.com/2016/06/renko-grid-quantitative-investing.html
http://www.cwayinvestment.com/2016/03/grid.html
http://www.cwayinvestment.com/2014/10/fibogrid.html
http://www.cwayinvestment.com/2014/08/anti-grid.html
Grid System จริงๆมันคือนิยามของระบบที่ ซื้อขายตามแนวเส้นระดับราคา ที่มีระยะห่าง(interval) คงที่ ตรงนี้แตกต่างจากระบบเทรดอื่นๆ ที่มันใช้สัญญาณซื้อขาย จากเครื่องมือ indicator จากกราฟแท่งเทียน จากโมเดลคณิตศาสตร์
ข้อดีของกริด คือ ไม่สนใจทิศทาง(กรณีเป็น Bi-direction) สามารถเทรดได้โดยไม่ต้องเดา อนาคต ไม่ต้องเดาแนวโน้ม กริดเน้นการซื้่อขายทำกำไรก้อนเล็ก(ตามการออกแบบโครงสร้างของกริด) เน้นกระแสเงินสด(Cash Flow)ที่ออกมา มากกว่ากำไรคำโตๆ กริดเองทำงานได้ดี ในช่วงราคาเคลื่อนไปมาในระยะ zone
ตัวอย่าง Grid structure
แบบแรก:แบ่งตามการซื้อขาย
Grid One direction >> ซื้อขายสะสม ในหน้าเดียว
Grid two direction >> ใช้ในอนุพันธ์ Long short ได้สองทาง
แบบที่สอง:แบ่งตาม money management
Grid Martingale >> ใช้การแทงทบ เพิ่มขนาด lot ในไม้ 2 3 4 เพื่อ cover loss ในไม้ที่เสีย
Grid Non-Martingale >> พวกนี้ไม่มีการเพิ่ม lot ไม่ตัดขาดทุนไม่มี SL แต่รอให้ ราคาวนกลับ ใช้กระแสเงินสดชดเชยส่วนการสูญเสียของ equity ไป เป็นการเก็บกำไรไรกริดต่อกริด
ขนาดของกริด(interval) มักจะขึ้นกับ กลยุทธ์ ขึ้นกับปัจจัยและช่วงเวลา เราอาจจะใช้เทคนิค การวาง zone เพื่อกำหนดขนาดกริดให้แตกต่างตามความผันผวน และกำลังโมเมนตรัมการเคลื่อนของราคา
การเข้า order ในกริด เราจะใช้การวาง pending order หรือเข้าออเดอร์ตามแนวเส้นกริด ที่เราออกแบบไว้ก็ได้ แต่การเทรดเป็นการเข้าออกแน่นอน
อ่านเรื่อง GRID เพิ่มเติม
http://www.cwayinvestment.com/2018/06/grid-trading-system.htmlhttp://www.cwayinvestment.com/2017/10/grid-money-management.html
http://www.cwayinvestment.com/2016/06/renko-grid-quantitative-investing.html
http://www.cwayinvestment.com/2016/03/grid.html
http://www.cwayinvestment.com/2014/10/fibogrid.html
http://www.cwayinvestment.com/2014/08/anti-grid.html