การวิเคราะห์ทางเทคนิคด้วยดัชนีราคา(Price Indicator) ก็เป็นอีกรูปแบบหนึ่งของอาวุธที่เราใช้ในตลาดหุ้นในเกมเก็งกำไรหรือการล่าส่วนต่างของราคา โดยเป้าหมายหลักของการวิเคราะห์ด้วยกราฟดัชนีราคาคือการอธิบายหรือสังเกตพฤติกรรมของราคาหุ้นโดยใช้ค่าทางสถิติและสมการคณิตศาสตร์มาช่วย และนำไปสู่การพยากรณ์การเคลื่อนที่ของราคาบนแนวโน้มในอนาคตต่อไป ด้วยกราฟดัชนีราคาคือการอธิบายหรือสังเกตพฤติกรรมของราคาหุ้นโดยใช้ค่าทางสถิติและสมการคณิต
สิ่งหนึ่งที่ต้องตระหนักคือ ดัชนีราคาใช้ค่าราคา ณ ช่วงเวลาต่างๆมาคำนวณดังนั้น เมื่อเหตุการณ์เกิดขึ้นแล้ว การย้อนมาดูดัชนีราคามันจึงสมเหตุสมผลทุกครั้ง เพราะสามารถอธิบายปรากฏการณ์ของราคาได้ แต่ส่วนของการคาดเดาอนาคตนั้นเป็นอีกเรื่องหนึ่ง ส่วนนี้ขึ้นอยู่กับการเก็บข้อมูลและการประเมินความถูกต้องของการใช้ดัชนีราคาโมเดลต่างๆกับหุ้น เพื่อให้เกิดความมั่นใจในสัญญาณซื้อ ขายต่อไป
ดัชนีราคาและแนวโน้ม
ประเภทของดัชนีราคา ที่ผมจะกล่าวถึงในบทนี้ สามารถแบ่งออกเป็นกลุ่มตามลักษณะของราคาหุ้นได้ 2 ประเภทคือแบบ Trend และแบบ oscillator
โดยกลุ่มของ Trend คือพวก indicator ที่ใช้ในช่วงราคาหุ้นมีแนวโน้มชัดเจน เคลื่อนที่ขึ้นหรือลงอย่างต่อเนื่อง ที่จะกล่าวถึงได้แก่ EMA (Exponential moving average) และ band indicator อย่าง Bollinger band
กลุ่มของ Oscillator ที่จะกล่าวถึงผมของแบ่งตามประเภทของความไวในการตอบสนองของการเปลี่ยนแปลงราคาตามค่าปกติของสมการเป็น fast active oscillator และ slow active oscillator โดยในเอกสารนี้จะขอกล่าวถึง RSI, STO, MACD พวกนี้เป็น เครื่องมือที่สร้างจากสมการคณิตศาสตร์เพื่อใช้วัดค่าความแกว่งของราคา จึงเหมาะกับการใช้ระบุสัญญาณซื้อ ขายในช่วงที่ราคาแกว่งตัวในกรอบ จำกัด (ในที่นี้ก็ขึ้นกับคือ คาบวันที่นำมาใช้ในการคำนวณ) หรือมีความผันผวนของราคา มีแนวโน้มไม่ชัดเจน
สิ่งหนึ่งที่ต้องตระหนักคือ ดัชนีราคาใช้ค่าราคา ณ ช่วงเวลาต่างๆมาคำนวณดังนั้น เมื่อเหตุการณ์เกิดขึ้นแล้ว การย้อนมาดูดัชนีราคามันจึงสมเหตุสมผลทุกครั้ง เพราะสามารถอธิบายปรากฏการณ์ของราคาได้ แต่ส่วนของการคาดเดาอนาคตนั้นเป็นอีกเรื่องหนึ่ง ส่วนนี้ขึ้นอยู่กับการเก็บข้อมูลและการประเมินความถูกต้องของการใช้ดัชนีราคาโมเดลต่างๆกับหุ้น เพื่อให้เกิดความมั่นใจในสัญญาณซื้อ ขายต่อไป
ดัชนีราคาที่ใช้งานกันอยู่ในปัจจุบันนั้นมีมากกว่า 50 ตัวแยกย่อยไปตามสมการและวิธีการคำนวณ โดยส่วนใหญ่มักจะทำเพื่อสังเคราะห์สัญญาณซื้อ สัญญาณขายของราคาหุ้น ณ กรอบเวลาต่างๆ ในที่นี้ โดยการใช้งานดัชนีราคาให้เกิดประสิทธิภาพนั้นต้องใช้งานให้ตรงกับแนวโน้มใหญ่ของราคาหุ้น กล่าวคือผู้ใช้ต้องนิยามแนวโน้มในอดีตของราคาให้ได้ก่อนเบื้องต้นเพื่อประเมินสถานการณ์ปัจจุบันก่อนเลือกใช้ดัชนีราคาที่เหมาะสม ผมขอแบ่งลักษณะของราคาหุ้นเป็นสองลักษณะใหญ่คือ ช้ต้องนิยามแนวโน้มในอดีตของราคาให้ได้ก่อนเบื้องต้นเพื่อประเมินสถานการณ์ปัจจุบันก่อ ลักษณะแบบ มีแนวโน้มชัดเจน (Trend) และแบบออกข้างไม่มีแนวโน้มที่ชัดเจน (non trend)
ดัชนีราคาและแนวโน้ม
ประเภทของดัชนีราคา ที่ผมจะกล่าวถึงในบทนี้ สามารถแบ่งออกเป็นกลุ่มตามลักษณะของราคาหุ้นได้ 2 ประเภทคือแบบ Trend และแบบ oscillator
โดยกลุ่มของ Trend คือพวก indicator ที่ใช้ในช่วงราคาหุ้นมีแนวโน้มชัดเจน เคลื่อนที่ขึ้นหรือลงอย่างต่อเนื่อง ที่จะกล่าวถึงได้แก่ EMA (Exponential moving average) และ band indicator อย่าง Bollinger band
กลุ่มของ Oscillator ที่จะกล่าวถึงผมของแบ่งตามประเภทของความไวในการตอบสนองของการเปลี่ยนแปลงราคาตามค่าปกติของสมการเป็น fast active oscillator และ slow active oscillator โดยในเอกสารนี้จะขอกล่าวถึง RSI, STO, MACD พวกนี้เป็น เครื่องมือที่สร้างจากสมการคณิตศาสตร์เพื่อใช้วัดค่าความแกว่งของราคา จึงเหมาะกับการใช้ระบุสัญญาณซื้อ ขายในช่วงที่ราคาแกว่งตัวในกรอบ จำกัด (ในที่นี้ก็ขึ้นกับคือ คาบวันที่นำมาใช้ในการคำนวณ) หรือมีความผันผวนของราคา มีแนวโน้มไม่ชัดเจน
ต่อตอนที่ 2